Bishopbark Article 5 วิธีดูแลสัตว์ป่วยอัมพาต

5 วิธีดูแลสัตว์ป่วยอัมพาต

5 วิธีดูแลสัตว์ป่วยอัมพาต

5 วิธีดูแลสัตว์ป่วยอัมพาต

การช่วยบีบนวดกระเพาะปัสสาวะ
• สัตว์ป่วยอัมพาตบางราย ไม่สามารถปัสสาวะเองได้หมด ควรช่วยบีบนวดกระเพาะปัสสาว ะทุก 4 ชั่วโมง เพื่อลดโอกาสการเกิดกระเพาะ ปัสสาวะอักเสบและติดเชื้อ
• ตำแหน่งในการบีบนวดกระเพาะป ัสสาวะคือ ระหว่างเต้านมสองคู่สุดท้าย  ตรงกลางของช่องท้อง เมื่อคลำพบแล้วให้ใช้มือและ นิ้วในการบีบบวด ไม่ใช้กำปั้นกดลงไปตรงช่องท ้องโดยตรง
• กรณีสุนัขตัวใหญ่ หรืออ้วน การบีบนวดกระเพาะปัสสาวะทำไ ด้ยาก แนะนำเป็นการสวนท่อปัสสาวะ และเปลี่ยนท่อใหม่ทุก 5-7 วัน เพื่อลดการติดเชื้อ

การดูแลด้านความสะอาด
• สัตว์ป่วยอัมพาตไม่สามารถเล ียตัวเองเพื่อทำความสะอาดได ้ จำเป็นต้องช่วยเช็ดตัว ทำความสะอาดให้แทน
• บริเวณอวัยวะเพศ ขาหนีบ และรอบทวาร ให้ใช้ผ้าเปียกเช็ดทำความสะ อาดทุกครั้งที่มีการขับถ่าย  แล้วเช็ดแห้ง
• บริเวณใบหน้าและคอ ให้เช็ดทำความสะอาดทุกครั้ง หลังป้อนอาหารและน้ำ
• บริเวณลำตัว ใช้ผ้าเปียกหมาดเช็ดทำความส ะอาด แล้วเช็ดแห้ง อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง กรณีสัตว์ป่วยไม่มีแผลกดทับ  อาจจะอาบน้ำ 1-2 สัปดาห์/ครั้ง 

การพลิกตัว
• ช่วยลดโอกาสเกิดแผลกดทับ จากการนอนในท่าใดท่าหนึ่งนา นๆ
• หากสัตว์ป่วยไม่สามารถพลิกต ัวเองได้ แนะนำให้ช่วยาพลิกตัวทุก 4 ชั่วโมง
• วิธีในการพลิกตัว คือจัดท่าให้คว่ำตัวก่อน แล้วค่อยพลิกให้อีกข้างลง ไม่พลิกท่าหงายเพราะจะทำให้ เกิดภาวะกระเพาะบิด หรือท้องอืดได้
• ในสุนัขที่ป่วยด้วยโรคทางกร ะดูก สมองและสันหลัง มักมีอาการเจ็บปวดคอและหลัง  ให้ระวังในการจับหรือจัดท่า ทาง

การกายภาพ
• สัตว์ป่วยอัมพาต เมื่อไม่ได้ใช้ขาเป็นเวลานา นๆ มีโอกาสเกิดภาวะกล้ามเนื้อฝ ่อลีบได้ แนะนำให้ช่วยยืดหดขา ครั้งละ 15 นาที วันละ 2 ครั้ง เพื่อการคงอยู่ของกล้ามเนื้ อ เนื่องจากภาวะกล้ามเนื้อฝ่อ ลีบ จะมีโอกาสทำให้ง่ายต่อการเก ิดแผลกดทับได้
• สัตว์ป่วยที่อัมพาต 2 ขาหลัง แต่ยังสามารถใช้ขาหน้าได้ แนะนำให้ขึ้นวีลแชร์ หรือใส่ชุดช่วงพยุงเดิน วันละ 2-3 ครั้ง ครั้งละ 15-30 นาที 

การป้อนน้ำและอาหาร
• สัตว์ป่วยอัมพาต ไม่สามารถกินน้ำและอาหารเอง ได้ตามปกติ จำเป็นต้องช่วยป้อน
• ป้อนอาหาร 2-3 มื้อ ต่อวัน ขึ้นกับน้ำหนักตัวและพลังงา นที่ควรได้รับต่อวัน
• กรณีที่ปริมาณอาหารต่อวันตา มหลักโภชนาการเยอะ ควรแบ่งมื้ออาหารให้มากขึ้น  ไม่แนะนำให้ๆอาหารเยอะเกินไ ปต่อมื้อ เพราะง่ายต่อการเกิดภาวะท้อ งอืด
• ป้อนน้ำ ทุก 1-2 ชั่วโมง ตามน้ำหนักและปริมาณน้ำที่ค วรได้รับต่อวัน (อย่างน้อย 50 ml/kg/day)
• จับยกหัวหรือนอนหมอนสูงขณะท ำการป้อน
• หากสัตว์ป่วยไม่สามารถเลียน ้ำหรืออาหารจากชามเองได้ จำเป็นต้องใช้ไซริงค์ในการป ้อน ควรเปลี่ยนไซริงค์ทุกครั้งข องมื้ออาหาร และเปลี่ยนไซริงค์ทุกวันของ การป้อนน้ำ

Related Post

ปัญหาการอาเจียนในน้องแมวปัญหาการอาเจียนในน้องแมว

หากน้องแมวที่เราเลี้ยงกำลังมีปัญหามีสิ่งกีดขวางในหลอดอาหาร (เช่นก้อนขน) หรือกล้ามเนื้อบริเวณหลอดอาหารหรือกระเพาะอาหารทำงานผิดปกติ เจ้าของมักจะสังเกตเห็นว่าพวกเขามีปัญหาในการกินหรือกลืน เจ้าของจะสังเกตเห็นว่าน้องแมวดูเหมือนไม่เต็มใจที่จะกินอาหาร ซึ่งอาจหมายถึงว่าน้องแมวกำลังเจ็บปวด เมื่อพยายามกินอาหาร ทำให้การกินอาหารเป็นเรื่องยากหรือเกิดความเครียด น้องแมวอาจสำรอกอาหารได้ นี่คือจุดที่แมวจะขับอาหารออกจากร่างกาย ซึ่งอาการนี้โดยปกติใช้เวลาไม่นานหลังจากที่น้องแมวทานอาหารเข้าไป และไม่มีสัญญาณเตือนใด ๆ ซึ่งน้องแมวอาจแสดงอาการไอ ซึ่งเกิดจากอาหารที่ไม่ได้ย่อยติดที่อยู่ในหลอดอาหารได้ค่ะ ปัญหาการอาเจียนหรือคายก้อนขนน้องแมวที่เราเลี้ยงอาจอาเจียนเป็นครั้งคราวถือว่าไม่ใช่เรื่องแปลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากพวกเขากินอะไรบางอย่างที่ร่างกายระบุว่าอันตราย การอาเจียนบ่อย ๆ จำนวนมากกว่าสองครั้งต่อเดือน อาจบ่งชี้ถึงปัญหาที่รุนแรงกว่านั้น เช่นการติดเชื้อ โรคหรือแผลที่ทำให้เกิดการอักเสบ อย่างไรก็ตามแมวอาจอาเจียนได้หลายสาเหตุ เมื่อแมวมีอาการอาเจียน พวกเขาจะขย้อนอาหารที่ย่อยในกระเพาะไปแล้วส่วนหนึ่งหรือน้ำดี ซึ่งโดยส่วนมากอาการเหล่านี้มักเกิดหลังจากทานอาหารมาระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งอาการนี้แตกต่างจากการสำรอก ซึ่งเป็นปฏิกิริยาโต้ตอบเชิงป้องกันและเกิดขึ้นทันที และหากน้องแมว

เลี้ยงลูกหมาวัยหย่านม ต้องดูแลอะไรบ้าง?เลี้ยงลูกหมาวัยหย่านม ต้องดูแลอะไรบ้าง?

เจ้าของสุนัขมือใหม่หลายๆ ท่านมักจะมีคำถามว่า เมื่อได้ลูกหมาสมาชิกใหม่วัยหย่านมเข้ามาในบ้าน แล้วเราควรจะต้องมีการเตรียมตัวดูแลพวกเขาอย่างไรบ้าง วันนี้เราจึงขอสรุปหัวข้อง่ายๆ แต่มีความสำคัญอย่างมาก เพื่อให้เจ้าของมือใหม่ได้เตรียมพร้อมในการดูแลลูกสุนัขวัยหย่านมได้ถูกต้อง เพื่อให้พวกเขาเติบโตต่อไปได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง • เริ่มเปลี่ยนอาหาร : เมื่อลูกสุนัขเข้าสู่ช่วง “หย่านม” แล้วก็แปลว่า เราก็ต้องหาอาหารอื่นมาทดแทนนมแม่ที่ลูกสุนัขเคยกิน แม้จะมีอาหารลูกสุนัขมากมายหลายรสชาติ หลายรสสัมผัส ในท้องตลาด แต่สิ่งที่เจ้าของควรใช้เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกซื้ออาหารสุนัข คือ “คุณค่าทางโภชนาการ” ว่าอาหารนั้นมีปริมาณสารอาหารที่จำเป็นต่อลูกสุนัขตรงตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะนำหรือไม่ กระบวนการผลิตน่าเชื่อถือหรือเปล่า หากเป็นอาหารที่มีส่วนผสมของ colostrum เช่นเดียวกับนมแม่ ก็จะยิ่งช่วยเสริมสร้างการทำงานของภูมิคุ้มกันให้กับลูกสุนัขได้เป็นอย่างดี โดยอาหารลูกสุนัข PURINA® Pro

แนะดูแลสัตว์เลี้ยงให้ถูกสุขลักษณะแนะดูแลสัตว์เลี้ยงให้ถูกสุขลักษณะ

การมีสัตว์เลี้ยงในบ้าน เช่น สุนัขและแมว ผู้เลี้ยงจะต้องรักษาสถานที่เลี้ยงสัตว์ให้สะอาดอยู่เสมอ คอยจัดเก็บสิ่งปฏิกูลให้ถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ เพื่อไม่รบกวนผู้อยู่อาศัยใกล้เคียง นายวรเศรษฐ์ วิศาลศักดิ์ ผู้อำนวยการเขตประเวศ กล่าวว่า เขตได้รับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนเป็นจำนวนมาก จากเหตุเดือดร้อนรำคาญจากการเลี้ยงสุนัข และสัตว์เลี้ยงอื่นๆ โดยเจ้าของปล่อยให้สัตว์เห่า หอน เสียงดัง หรือถ่ายมูลเรี่ยราด ส่งกลิ่นเหม็นรบกวนผู้อยู่อาศัยใกล้เคียง หรือทำร้ายประชาชนที่สัญจรไปมา ดังนั้น เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชนในพื้นที่ จึงขอความร่วมมือเจ้าของสัตว์เลี้ยงปฏิบัติ ดังนี้ 1. ต้องเลี้ยงสัตว์ภายในบริเวณบ้าน โดยจัดสถานที่เลี้ยงสัตว์ตามความเหมาะสมตามจำนวนสัตว์เลี้ยง 2. รักษาสถานที่เลี้ยงสัตว์ให้สะอาดอยู่เสมอจัดเก็บสิ่งปฏิกูลให้ถูกสุขลักษณะ ไม่ปล่อยให้เกิดการสะสมจนเกิดกลิ่นเหม็น รบกวนผู้ที่อาศัยใกล้เคียง 3. ต้องระมัดระวังและรับผิดชอบมลภาวะเสียง