Bishopbark การดูแลสุนัข เฟรนช์ บลูด็อก (French Bulldog)

เฟรนช์ บลูด็อก (French Bulldog)

เฟรนช์ บลูด็อก (French Bulldog) post thumbnail image

เริ่มต้นกันที่สุนัขตาแป๋วแสนน่ารักแห่งปี อย่างเฟรนช์ บลูด็อก หรือเฟรนช์ชี่ (Frenchie) ที่เรียกได้ว่านิยมกันสุด ๆ ในตอนนี้ สาเหตุก็เป็นเพราะเจ้าหมาหน้ามึนตัวนี้มีสีหน้าซื่อ ๆ แต่ช่างน่ารักเอ็นดู จะมองมุมไหนก็สร้างความสุขให้เจ้าของได้เสมอเลยล่ะครับ สุนัขพันธุ์เล็กนี้มีต้นกำเนิดที่ประเทศฝรั่งเศส โดยเกิดจากการผสมข้ามสายพันธุ์ระหว่าง English Bulldog และ Boston Terriers นั่นเอง

Related Post

ปอมเมอเรเนียน (Pomeranian) สุนัขตัวเล็กหัวใจไม่เล็ก และเคล็ดลับในการดูแลสุขภาพปอมเมอเรเนียน (Pomeranian) สุนัขตัวเล็กหัวใจไม่เล็ก และเคล็ดลับในการดูแลสุขภาพ

ทำความรู้จักปอมเมอเรเนียน (Pomeranian) ปอมเมอเรเนียน (Pomeranian) เป็นสุนัขที่จัดอยู่ในกลุ่ม Toy Group แม้ว่าจะมีขนาดตัวเล็กแต่ปอมเมอเรเนียนกลับครองใจเจ้าของผู้เลี้ยงมาอย่างยาวนาน แถมยังเป็นสายพันธุ์สุดโปรดของทั้งเจ้าของอย่างเราและเชื้อพระวงศ์ชั้นสูง แถมประวัติของสุนัขสายพันธุ์นี้ยังมีความน่าสนใจไม่แพ้สายพันธุ์ไหน ด้วยขนที่ฟูดูนุ่มน่ากอด หน้าตาจิ้มลิ้ม มีความเป็นมิตร น่ารักมีชีวิตชีวา ขนาดตัวที่แสนกะทัดรัด ช่างเอาอกเอาใจ แอคทีฟแสนกระตือรือร้น และเก่งไม่แพ้สุนัขสายพันธุ์ไหนในสนามประลองความสามารถก็เล่นทำได้ไปเสียหมดทุกเรื่องขนาดนี้ มิน่าล่ะทำไมใครๆ ก็เรียกปอมเมอเรเนียนว่าเป็นสุนัขตัวเล็กแต่ความสามารถรอบด้าน ประวัติสายพันธุ์ปอมเมอเรเนียน ปอมเมอเรเนียน มาจากจังหวัดปอมเมอเรเนียน ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตอนใต้ของทะเลบอลติกในประเทศเยอรมัน ซึ่งที่นี่นิยมเลี้ยงปอมเมอเรเนียนไว้เป็นทั้งสัตว์เลี้ยงและทั้งใช้งาน เพราะเดิมเป็นสุนัขพันธุ์ใหญ่ใช้ลากเลื่อนและเฝ้าฝูงแกะ และเชื่อว่ามีต้นกำเนิดจากสุนัขสายพันธุ์สปิทซ์ สุนัขแถบไอซ์แลนด์และแลปแลนด์ บริเวณตอนเหนือของทวีปยุโรป จึงไม่แปลกที่ปอมเมอเรเนียนจะคล้ายคลึงกับสุนัขพันธุ์สปิทซ์ ทั้งหน้าตา

9 วิธีดูแลหมา-แมวรับปีใหม่ ฉลองอย่างไรให้สัตว์เลี้ยงมีสุข9 วิธีดูแลหมา-แมวรับปีใหม่ ฉลองอย่างไรให้สัตว์เลี้ยงมีสุข

ฉลองปีใหม่กับเจ้าตูบและเจ้าเหมียวด้วยของขวัญสุดพิเศษกับ 9 วิธีดูแลสัตว์เลี้ยง ให้เจ้าตูบและเหมียวแข็งแรงต้อนรับปีใหม่และอยู่กับเราไปนาน ๆ ปีใหม่นี้ถ้าใครยังไม่มีของขวัญให้ให้สัตว์เลี้ยงที่บ้าน อยากจะบอกว่าไม่ต้องหาซื้อให้ยุ่งยากเลย นอกเหนือจากจากขนมและของเล่นแล้วคุณยังสามารถให้ของขวัญอย่างอื่นกับพวกมันได้ อย่างเช่น ใช้เวลาอยู่กับน้องเหมียวมากขึ้น หรืออาจจะพาเจ้าตูบไปเดินเล่นบ่อยขึ้น และวันนี้กะปุกดอทคอมก็มี 9 วิธีดูแลน้องหมาและน้องแมวมาฝากกัน ถือซะว่าเป็นเป็นการให้ของขวัญชิ้นพิเศษสำหรับเจ้าตูบและเจ้าเหมียว 1. พาไปตรวจสุขภาพประจำปี ไม่ใช่มีแต่คนเท่านั้นนะที่ต้องไปตรวจสุขภาพประจำปี หากที่บ้านมีน้องหมาน้องแมวอยู่ ก็อย่าลืมพาพวกเขาไปตรวจสุขภาพประจำปีด้วยนะคะ เพราะนอกจากจะได้เช็กความแข็งแรงของร่างกายแล้ว ยังทำให้รู้ล่วงหน้าอีกด้วยว่าสัตว์เลี้ยงของเราเสี่ยงต่อการเป็นโรคอะไรบ้าง แล้วในฐานะที่เราเป็นเจ้าของควรจะระมัดระวังเรื่องอะไรบ้าง มีอะไรบ้างที่ทำได้และมีอะไรบ้างที่ทำไม่ได้ เพราะโรคบางอย่างไม่มีอาการเตือนใด ๆ ถ้ามีอาการปุ๊บอาจหมายถึงชีวิตเลยก็ได้ เช่น โรคมะเร็ง ฉะนั้นปีใหม่นี้หากจะหาของขวัญให้สัตว์เลี้ยงสัตว์อย่าง พาพวกเขาไปตรวจสุขภาพประจำปีก็น่าจะเป็นไอเดียที่ดีมากทีเดียวค่ะ 2.

ช่วงการเจริญเติบโตที่สำคัญของลูกสุนัขช่วงการเจริญเติบโตที่สำคัญของลูกสุนัข

ในช่วงสองสามปีแรก จะมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนมากเกิดขึ้นกับลูกสุนัขของคุณ การทำความเข้าใจช่วงการเจริญเติบโตที่สำคัญจะช่วยให้คุณเตรียมพร้อมและมั่นใจว่าคุณกำลังให้การเริ่มต้นที่ดีที่สุด ตลอดช่วงปีแรกของชีวิต ลูกสุนัขของคุณจะมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทั้งด้านขนาด รูปร่าง และพฤติกรรม การทำความเข้าใจช่วงการเจริญเติบโตที่สำคัญจะช่วยให้คุณทราบว่าต้องรับมือเรื่องอะไรในช่วงเวลาต่างๆ ของสองสามปีแรกและเตรียมพร้อมในแบบที่ถูกต้อง หนึ่งในสิ่งสำคัญที่ควรทราบคือความแตกต่างในช่วงสองสามปีแรกระหว่างสุนัขพันธุ์เล็กและสุนัขพันธุ์ใหญ่ การเจริญเติบโตจะเกิดขึ้นด้วยความเร็วที่ต่างกัน และมีสิ่งที่ควรระวังต่างกัน ขึ้นอยู่กับประเภทของสุนัขที่คุณเลี้ยง เพศของสุนัขและพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ ช่วง 3-4 สัปดาห์แรกเกิดของลูกสุนัขของคุณ 14 วันแรกเกิดของลูกสุนัขเป็นช่วงเวลาที่สำคัญเพื่อให้แน่ใจว่าพวกเขาจะเติบโตเต็มวัยด้วยสุขภาพที่ดี สิ่งสำคัญคือการดูแลลูกสุนัขอย่างระมัดระวังในช่วง 48 ชั่วโมงแรก และตรวจสอบให้แน่ใจว่าพวกเขาได้รับความอบอุ่นและโภชนาการที่พวกเขาต้องการอย่างครบถ้วน ซึ่งรวมถึงนมน้ำเหลืองที่ลูกสุนัขได้รับจากแม่สุนัข เนื่องจากน้ำนมนี้ช่วยเสริมระบบภูมิคุ้มกันของลูกสุนัข ในช่วงวันที่ 9-13 น้ำหนักของลูกสุนัขของคุณจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ดังนั้นควรปรึกษาสัตวแพทย์หากน้ำหนักของลูกสุนัขไม่เพิ่มขึ้นตามที่ควรจะเป็น หลังจากอายุได้หนึ่งเดือน